วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2555

กสทช.คลอดคณะทำงานตรวจสอบเคาะราคา 3 จีแล้ว



ซึ่งปัจจุบันท่านเป็นอาจารย์ประจำอยู่ที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือเอไอที ส่วนก่อนหน้านี้ อาจารย์มงคล ได้ใช้เวลาช่วงหนึ่งทำงานที่บริษัทอินเทล ซึ่งมีวิศวกรคอมพิวเตอร์ไทยจำนวนน้อยคน จะมีโอกาสได้ทำงานกับบริษัทผู้ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ยักษ์ใหญ่แห่งนี้ จึงได้มีโอกาสถามคำถามที่น่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจเข้าเรียนในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ครับ ผมโชคดีอีกครั้งที่ได้เจอกับ ผศ.ดร.มงคล เอกปัญญาพงศ์ ศิษย์เก่าจากภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ ibcbet ์มหาวิทยาลัยท่านหนึ่ง ส่วนใหญ่คนไทยคงรู้จักอินเทล ในฐานะผู้ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์อันดับหนึ่งของโลก แต่จริง ๆ แล้วเขาก็ทำอย่างอื่นด้วยครับ เช่น ชิปเซ็ต chipset อุปกรณ์ประมวลผลทางภาพหรือกราฟิกชิป โซลิดสเตทไดรฟ์ ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีอย่างเช่น อินเทลคอมไพเลอร์ ปกติคอมไพเลอร์ตัวที่มีชื่อเสียงที่ใช้กันอยู่ทั่ว ๆ ไปหลาย ๆ ตัว จะมีอินเทลคอมไพเลอร์ติดมาด้วย เวลาทำ optimization พยายามทำให้โปรแกรมที่ถูกค

อมไพล์ทำงานได้เร็วที่สุด คอมไพเลอร์เหล่านั้นก็จะเรียกอินเทลคอมไพเลอร์มาใช้งาน backend optimization โดยเฉพาะกับอินเทลไมโครโปรเซสเซอร์ เพราะคงไม่มีใครเข้าใจการทำงานของอินเทลไมโครโปรเซสเซอร์ ได้เท่าจากคนของอินเทลเอง ในบริษัทอินเทล นอกจากการผลิตซีพียูซึ่งพวกเราคนไทยรู้จักกันดีแล้ว ยังมีการผลิตอื่น ๆ อีกหรือไม่ครับ ถือเป็นเรื่องทางการตลาดที่บริษัทอินเทลภูมิใจมากที่สุด เพราะถือได้ว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ของการตลาดสมัยนั้น ตัวอย่างเช่น สมม ibc ุติว่าเราซื้อพัดลมมา 1 ตัว ก็ไม่มีใครเคยบอกเราว่า พัดลมตัวนี้มันมีมอเตอร์ยี่ห้ออะไรข้างใน หรือในรถยนต์ก็ไม่มีใครบอกว่ามีส่วนประกอบจากยี่ห้อนี้อยู่ข้างใน ซึ่งอินเทลเป็นผู้ทำเป็นเจ้าแรกที่ลุกขึ้นมาบอกลูกค้าว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนโต๊ะ อยู่บนตักของลูกค้าเหล่านั้น มีผลิตภัณฑ์ของอินเทลอยู่ในนั้น ก็ถือได้ว่าค่อนข้างประสบความสำเร็จ ทำให้ตอนนี้เวลาใครจะซื้อคอมพิวเตอร์ จะต้องดูบ้างเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ของบริษัทไหน แต่การที่มีไอซีชิปมีข้อดีคือทำให้วงจรที่มีการต่อกันที่สลับซับซ้อนมีขนาดเล็กลงมาก
Credit : Cilck here

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น